วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
วันจันทร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2558
Research and Knowledge Formation
ชื่อ นาย กษิดิศ สกุล แพงคำ เลขที่ 6 ห้อง ม.5/9
กลุ่มที่ 8
ปัญหาที่นักเรียนศึกษา(ความเข้าใจผิดในชีวิตประจำวัน)
ที่มาและความสำคัญของปัญหา
-ต้องการความถูกต้องของสิ่งต่างๆรอบตัวเราในชีวิตประจำวัน
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาปัญหาความเข้าใจผิดในชีวิตประจำวัน
2.เพื่อเรียนรู้วิธีการสร้างภาพยนต์สั้น
ผลการศึกษา (ให้เขียนตามวัตถุประสงค์ )
-เพื่อให้รู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้อง
เสนอแนวคิดในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรู้จากการค้นพบ
-ค้นหาข้อมุลที่ต้องการแก้ปัญหา
-วางแผนการแก้ปัญหา หลีกเลี่งปัญหาที่จะเกิดให้ได้
-เลียงลำดับเหตุการณ์ของปัญหา
-สรุปปัญหา
-แก้ไข
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเรียนวิชา IS1
-ขั้นตอนการทำภาพยนต์สั่น
-รูปแบบการถ่ายภาพ
วันจันทร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
ตัวอย่างความเข้าใจผิด ที่เราคิดว่ามันถูก
ห้ามออกจากบ้าน ขณะที่ผมยังเปียก
-ข้อเท็จจริง ถึงผมไม่เปียกก็เป็นหวัดได้ ถ้ารับเชื้อหวัดเข้าไปผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์ Rachel Vreeman คุณหมอด้านกุมารเวชศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัย Indiana เปิดเผยว่า ผมเปียกแล้วจะเป็นหวัดไม่เป็นความจริง เพราะไม่ว่าผมคุณจะเปียก หรือไม่เปียก คุณก็สามารถเป็นไข้หวัดได้ หากได้รับเชื้อไวรัสไข้หวัดเข้าไป
เป็นไข้แล้ว กินอาหารน้อยลงกว่าปกติ
-ข้อเท็จจริง ต้องกินอาหารที่ดี และมีประโยชน์ให้มากกว่าปกติข้อนี้ไม่ถึงกับเป็นความเชื่อ ที่ผิด แต่คุณหมอVreeman ระบุว่า คนส่วนใหญ่มักปล่อยเลยตามเลย พอป่วยรู้สึกเบื่ออาหารก็จะไม่กิน หรือกินน้อยลง ซึ่งเป็นความผิดมหันต์ค่ะเพราะแท้จริงแล้วเมื่อเป็นหวัด ร่างกายจะต้องการพลังงานจากอาหารมากกว่าปกติ เพื่อนำไปต่อสู้กับเชื้อไข้หวัดดังนั้นหากมีไข้ เป็นหวัด จำให้ขึ้นใจว่า ควรกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ และพยายามดื่มน้ำมากขึ้น ร่างกายจะได้ไม่แย่ไปกว่าเดิมไงล่ะ
-ข้อเท็จจริง ถึงผมไม่เปียกก็เป็นหวัดได้ ถ้ารับเชื้อหวัดเข้าไปผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์ Rachel Vreeman คุณหมอด้านกุมารเวชศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัย Indiana เปิดเผยว่า ผมเปียกแล้วจะเป็นหวัดไม่เป็นความจริง เพราะไม่ว่าผมคุณจะเปียก หรือไม่เปียก คุณก็สามารถเป็นไข้หวัดได้ หากได้รับเชื้อไวรัสไข้หวัดเข้าไป
เป็นไข้แล้ว กินอาหารน้อยลงกว่าปกติ
-ข้อเท็จจริง ต้องกินอาหารที่ดี และมีประโยชน์ให้มากกว่าปกติข้อนี้ไม่ถึงกับเป็นความเชื่อ ที่ผิด แต่คุณหมอVreeman ระบุว่า คนส่วนใหญ่มักปล่อยเลยตามเลย พอป่วยรู้สึกเบื่ออาหารก็จะไม่กิน หรือกินน้อยลง ซึ่งเป็นความผิดมหันต์ค่ะเพราะแท้จริงแล้วเมื่อเป็นหวัด ร่างกายจะต้องการพลังงานจากอาหารมากกว่าปกติ เพื่อนำไปต่อสู้กับเชื้อไข้หวัดดังนั้นหากมีไข้ เป็นหวัด จำให้ขึ้นใจว่า ควรกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ และพยายามดื่มน้ำมากขึ้น ร่างกายจะได้ไม่แย่ไปกว่าเดิมไงล่ะ
ความเข้าใจผิดในการใช้คำ
ความเข้าใจผิดในการใช้คำ
เนื่องจาก วัยรุ่นจำนวนมากที่เขียนหนังสือแล้วจะมี “คำที่เขียนผิดกัน”เพราะทุกวันนี้ เด็กไทยไม่ได้ อ่านหนังสือ หรือ เขียนหนังสือกันสักเท่าไร ! ยิ่งตอนนี้ก็มีคอมพิวเตอร์เวลาหาข้อมูลทำการบ้าน รายงาน ก็แค่ก๊อปปี้แล้วก็วางก็เลยอาจจะเป็นหนึ่งในสาเหตุ ที่ทำให้เด็กไทยเขียนหนังสือ ผิดๆถูกๆ หรือ สะกดคำ ไม่ถูกต้อง เช่น
“สังเกตุ” หรือ “สังเกต”
คำนี้หลายคนเข้าใจว่า ต้องเขียนว่า “สังเกตุ” คือ มีสระอุ ใต้ “ต”แต่ที่ถูกต้องตามพจนานุกรม จะต้องเขียนว่า “สังเกต” คือ ไม่มีสระอุ เพราะหากเติมสระอุ เมื่อใด ความหมายจะผิดเพี้ยน
“นะคะ” หรือ “นะค่ะ”
อีกคำหนึ่งที่มักเห็นเขียนผิดกันบ่อยครั้ง คือคำว่า “นะคะ” กับ “นะค่ะ” คำที่ลงท้ายว่า “คะ” ใช้กับการบอกกล่าว คำที่ลงท้ายว่า “ค่ะ” ใช้กับการ รับคำ แต่เรามักเห็น เขียนคำว่า “นะค่ะ” เป็นคำบอกกล่าว เช่น “อย่าลืมซื้อเค้ก มาฝาก นะค่ะ” ซึ่งจริงๆ ต้องเขียนว่า “นะคะ” (ออกเสียงค๊ะ) โดยไม่ต้องเติม ไม้เอก เพราะว่า…
“คะ” อักษรต่ำ คำตาย สระเสียงสั้น ไม่มีวรรณยุกต์ ออกเสียงตรี เช่นเดียวกับ “นะ” “จ๊ะ” “วะ”
“ค่ะ” อักษรต่ำ คำตาย สระเสียงสั้น มีวรรณยุกต์เอก ออกเสียงโท เช่นเดียวกับ “น่ะ” “จ้ะ” “ว่ะ”
การดูแลสุขภาพเพื่อหลีกเลี่ยงอาการผิดปกติต่างๆ
หลัก 8 ประการของการดูแลรักษาสุขภาพ
1. รับประทานอาหาร อย่างถูกต้องเหมาะสม
2. ขับถ่าย อุจจาระ ปัสสาวะ สม่ำเสมอทุกวัน
3. ใส่เสื้อผ้าให้เหมาะสม กับฤดูกาล เช่น หน้าหนาวก็ใส่เสื้อผ้าหนา ๆ สวมหมวก ถุงมือ ถุงเท้าขณะนอนตอนกลางคืนควรห่มผ้าปิดถึงอก
4. ออกกำลังกาย ควรออกกำลังกายกลางแจ้งทุกวัน
5. รักษาความสะอาดของสถานที่พักอาศัย เพื่อช่วยให้สิ่งแวดล้อมดี อากาศดี
6. รักษาอารมณ์ให้ปลอดโปร่ง แจ่มใสตลอดทั้งวัน และอย่าลืมนั่งสมาธิทุกวัน
7. พักผ่อนให้เพียงพอ เหมาะสมกับเพศ และวัยไม่ควรนอนดึกเกิน ๒๒.๐๐ น. ติดต่อกันหลายวัน
8. มีท่าทาง และอิริยาบถที่ถูกต้องเหมาะสม ในการทำงานในชีวิตประจำวัน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)